• Welcome to ลงประกาศฟรี โปรโมทเว็บ SEO SMF PBN.
 

🎯✅📌บริการเจาะสำรวจดิน Boring Test Service✨🥇✨

Started by Panitsupa, Jul 26, 2024, 11:33 PM

Previous topic - Next topic

Panitsupa

การสำรวจดิน📌 คือ วิธีการเจาะดิน🛒, การเก็บตัวอย่างดิน⚡, ทดสอบคุณสมบัติดินในสนาม🥇, การหยั่งลึกชั้นดินจากผิวดิน📢 หรือใช้วิธีอื่น ๆ🛒 เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลชั้นดินทั้งแนวดิ่งและแนวราบ📢 เพียงพอในการที่จะออกแบบ หรือศึกษาทางด้านปฐพีกลศาสตร์📌 การสำรวจดินต้องคำนึงถึงประโยชน์ใช้งาน🥇 เช่น งานถนนหรือสนามบิน🛒 การเจาะสำรวจจะทำเพียงตื้น ๆ📢 แต่งานฐานรากต้องสำรวจลึกกว่าปลายเข็มที่ใช้งาน✅ การสำรวจดินมีด้วยกันหลายประเภทอันได้แก่🦖

✨✨✨การเจาะสำรวจดินมีหลายประเภท🎯🦖🦖🦖

✨✨✨1. การสำรวจธรณีฟิสิกส์พื้นผิว✅ ได้แก่การสำรวจที่ไม่ต้องเจาะดิน📢 แต่ใช้เครื่องมือทดสอบบนพื้นผิวโดยใช้หลักการฟิสิกส์🥇 วิธีดังกล่าวเป็นวิธีที่มีความถูกต้องน้อยกว่าการเจาะสำรวจ⚡ ตัวอย่างการสำรวจด้วยวิธีนี้ได้แก่⚡ การทดสอบ Resistivity🌏 การทดสอบ Seismic Reflection🥇 และการทดสอบเรดาร์ทะลุพื้นดิน (GPR)✅ เป็นต้น

✅✅✅2. การทดสอบในสนาม (In-situ Testing)🌏 คือ การทดสอบคุณสมบัติดินในสนาม📌 โดยไม่ได้เก็บตัวอย่างดินมาทดสอบในห้องปฏิบัติการ✅ แต่ใช้เครื่องมือทดสอบหยั่งลงในพื้นดินเพื่อตรวจสอบคุณสมบัติดิน ณ ตำแหน่งความลึกต่าง ๆ🦖 ข้อดีของการทดสอบโดยวิธีนี้คือ ดินที่ถูกทดสอบอยู่ในสภาวะที่เป็นสภาวะจริง📢 แต่ข้อเสียคือเครื่องมือวัดมีความละเอียดน้อยกว่าเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ⚡ ตัวอย่างการสำรวจด้วยวิธีนี้ ได้แก่🥇 การทดสอบ Vane Shear🎯 การทดสอบ Cone Penetration⚡ และการทดสอบการเจาะมาตรฐาน⚡ เป็นต้น

📢📢📢3. การเจาะดิน✅ การเจาะสำรวจมักจะทำควบคู่กันไปกับการเก็บตัวอย่างดิน และการทดสอบคุณสมบัติในสนาม🥇 ตัวอย่างวิธีการเจาะสำรวจได้แก่🦖

3.1 การเจาะโดยใช้สว่านมือ (Hand Auger)🥇 เป็นการเจาะด้วยแรงงานคน🦖 โดยใช้สว่านมือและก้านเจาะ✨ ใช้กับดินลักษณะต่าง ๆ กัน📢 โดยที่ก้านเจาะซึ่งยาวประมาณ 1 เมตร🥇 สามารถต่อเพิ่มความยาวได้หลายท่อน🛒 เมื่อกดพร้อม ๆ กับหมุนมือถือจนดินเข้ามาเต็มสว่านแล้วต้องดึงขึ้นมาเพื่อนำดินออก👉 ดินส่วนนี้สามารถใช้จำแนกทางวิศวกรรมได้🛒 การเจาะด้วยสว่านมืออาจทำได้ลึกถึง 6-10 เมตร🥇 ในดินเหนียวแข็งปานกลางที่ระดับน้ำใต้ดินไม่สูงนัก🦖

3.2 การเจาะโดยใช้การฉีดล้าง (Wash Boring)🎯
เป็นการเจาะดินโดยการสูบน้ำผ่านก้านเจาะลงไปที่หัวฉีดที่ก้นหลุมพร้อม ๆ กับกระแทกหรือหมุนของหัวเจาะ⚡ ทำให้ดินก้นหลุมถูกน้ำพาไหลขึ้นมาบนผิวดินจนเกิดหลุม🎯 น้ำที่นำดินขึ้นมาจะไหลลงในอ่างตกตะกอน แล้วสูบน้ำที่ใสนำไปใช้ได้อีกในลักษณะการไหลเวียน🥇 วิธีนี้ต้องอาศัยโครงสามขา (Tripod)📌 เครื่องกว้าน (Motor และ Catch head)📌 และปั๊มน้ำ🛒 ในกรณีที่เจาะดินอ่อนหรือทราย📢 จะต้องใช้ปลอกกันดินพัง (Casing)✨ด้วย โดยต่อเป็นท่อน ๆ การเจาะแบบนี้เป็นที่นิยมในประเทศ✨ เนื่องจากสามารถเจาะดินได้ลึกและสามารถใช้เจาะไปถึงตำแหน่งที่ต้องการเพื่อเก็บตัวอย่างดินหรือทดสอบในสนามได้📌 การเจาะโดยวิธีนี้สามารถเจาะได้เกินกว่า 60 เมตร ในชั้นดินกรุงเทพฯ📌
Tags : ทดสอบดิน